In a world of artificiality - we appreciate even more the exploration into creativity and the journey of new authentic experiences and tangible environments.
Inson Wood. 😍
Janine Yasovant MPA.
Inson Wongsam. His works comprise both painting and woodcarving.
Many of his works are the legacy from a journey he made after he graduated from Silpakorn University in 1961. Before venturing abroad, Inson rode his Lambretta Scooter and traveled to various provinces in Thailand in 1961. A year later, he held a successful solo exhibition of the works he had accomplished at a tourist organization in Bangkok to raise personal funds for his long journey to foreign countries. With encouragement and support from Italian professor Silp Bhirasri (Corrado Feroci), the founder and the first dean of Silpakorn University who gave Inson valuable advice to find additional inspiration in foreign nations, he carried his art equipment and rolls of woodcut prints that depict scenes of rural life in Thailand to represent his home country. He also exhibited these woodcut prints along with new works he created during the journey.
In 1963 he held many exhibitions in various major cities such as New Delhi, Lahore, Karachi, Tehran, Istanbul and Athens. He also went to visit Rome and held an exhibition in Florence and then moved to live in Paris temporarily from 1963 -1966. He opened a workshop and studio there.
After that, he moved to Atlantic Highlands, New Jersey, USA. He married a French/American woman. Their son is the co -owner of Inson Dubois Wood, a New York based Architectural and Interior Design firm. He is an architect, a graduate of Harvard University and has a rich background of life like his father. The objective of his company is to help discover, reveal and refine design identity. In over 40 acres in New York, beautiful woodcarving collections from tasteful and famous people in America can be seen in the showroom. The firm received awards such as New York Architect Interior Designer, Living Scandinavia Style, Lux Interior Design, Jan 2015 and New York Space.
Inson Wongsam with over 85 years of creativity and still counting!
อาจารย์อินสนธิ์ วงศ์สาม ผลงานต่างๆ ประกอบไป
ด้วยภาพเขียนและไม้แกะสลัก หลายชิ้นงานเป็นมรดกตกทอดจากการเดินทางหลังจากที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรในปีพ.ศ. 2504 ก่อนที่จะท่องเทียวไปต่างประเทศ อาจารย์ อินสนธิ์ขี่สกู๊ตเตอร์ แลมเบรตต้าเดินทางไปยังหลายจังหวัดในประเทศไทยตลอดปีพ.ศ. 2504
ปีต่อมา อาจารย์อินสนธิ์ ประสบความสำเร็จในการจัดนิทรรศการเดี่ยวของผลงานที่ได้ทำที่องค์กรท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานครเพื่อสมทบทุนส่วนตัวสำหรับการเดินทางระยะไกลไปยังต่างประเทศ ด้วยการให้กำลังใจและการสนับสนุนจากศาสตราจารย์ชาวอิตาเลียนที่มีนามว่า ศิลป์ พีระศรี ผู้ก่อตั้งและคณบดีคนแรกของคณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่ให้คำแนะนำที่มีคุณค่าแก่อาจารย์ อินสนธิ์
ให้ไปค้นหาแรงบันดาลใจเพิ่มเติมในต่างประเทศ อาจารย์อินสนธิ์พกพาอุปกรณ์ทำงานศิลปะ ม้วนภาพพิมพ์แกะไม้ที่สะท้อนถึงฉากชีวิตชนบทในประเทศไทยเพื่อเป็นตัวแทนนำเสนอประเทศบ้านเกิด และยังได้จัดนิทรรศการแสดงผลงานภาพพิมพ์ชุดนี้ไปพร้อมกับผลงานชิ้นใหม่ๆที่ผลิตขึ้นระหว่างการเดินทางปีพ.ศ. 2506 อาจารย์อินสนธิ์ได้จัดนิทรรศการตามเมืองสำคัญๆ เช่น นิวเดลี ลาฮอร์ การาจี เตห์ราน อิสตันบูลและเอเธนส์ และยังได้ไปเยี่ยมชมเมืองโรมและ
จัดนิทรรศการที่เมืองฟลอเรนซ์ จากนั้นจึงย้ายไปอยู่ที่ปารีสชั่วคราวตั้งแต่ปีพ.ศ. 2506 – 2509 และได้เปิดห้องทำงานและสตูดิโอขึ้นที่นั่นหลังจากนั้นอาจารย์อินสนธิ์ได้ย้ายไปอยู่ที่แอตแลนติก ไฮแลนด์ รัฐนิวเจอร์ซีสหรัฐอเมริกา และได้สมรสกับสาวชาวฝรั่งเศสสัญชาติอเมริกัน
ขณะนี้บุตรชายอาจารย์อินสนธิ์เป็นเจ้าของInson Dubois Wood บริษัทรับออกแบบสถาปัตยกรรมและตกแต่งภายในที่ตั้งอยู่ที่เมืองนิวยอร์ก ทำงานเป็นสถาปนิกที่จบจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและมีภูมิหลังชีวิตที่น่าสนใจเหมือนกับคุณพ่อของเขา จุดประสงค์ของบริษัทคือค้นหา เปิดเผยและคัดสรรตัวตนแห่งการออกแบบ (Discover, reveal and refine design identity) ในโชว์รูมที่พื้นที่มากกว่า 40 เอเคอร์ ในเมืองนิวยอร์ค จะได้เห็นของสะสมไม้แกะสลักที่สวยงามจากบุคคลที่มีชื่อเสียงและมีรสนิยมในห้องโชว์รูม ที่ผ่านมาบริษัทยังได้รับรางวัลต่างๆ ดังนี้คือ New York Architect Interior Designer,Living Scandinavia Style,Lux Interior Design (Jan 2015) และ New York
Space (1974)อาจารย์อินสน วงศ์สาม ท่านใช้เวลาความคิดสร้างสรรค์มากว่า 85 ปีและยังคงจะทำเช่นนั้นต่อไปอีกเรื่อยๆ..
No comments:
Post a Comment