Tuesday, April 27, 2021

Songkran days 13-15 Th. April 2564










 

 

























 
 







G


























Janine Yasovant MPA. Writer

As I was writing this article, it was a New Year in many countries in Asia. It was time to celebrate the year with both a religious ceremony and the ordinary enjoyment of a family’s days together

Songkran Festival (New Year’s Festival) in Thailand is celebrated on 13-15 April every year. It is, by far, the most popular festival in Thailand for both Thai people and foreigners alike, even though in some quarters it has become a rowdy, fun-seeking, and occasionally disrespectful activity. But for most, it is a time of purification, renewal and celebration.

Many countries near Thailand also celebrate this festival: Laos, Cambodia, Myanmar (Burma) and Thai people in Yunnan of China. Sri Lanka also celebrates a similar festival called Sinhalese, and the Tamil New Year coincides with this festival. In India, the Assamese, Bengali, Oriya, Tamil, Punjabi, and Malayali New Year falls on the same dates. The same date is celebrated widely throughout the Indian subcontinent, albeit based on the astrological event of the sun beginning its northward journey.

The prediction for the New Year is made according to that particular day of the Songkran angel. For example, if the preferred foods of the Songkran angel are nuts and sesame seeds, it is predicted that the year will be productive, prosperous and healthy. And if the preferred food is blood, the prediction would go for a bloody year with quarrels and hardship. And if “Miss Songkran” prefers to carry a weapon, it is predicted that the weather will be full of thunderstorms, and other discomforts.

The date of the festival was originally set by astrological calculation, but it is now fixed. If these days fall on a weekend, the missed days off are taken on the weekdays immediately following. Songkran falls in the hottest time of the year in Thailand, at the end of the dry season. Until 1888, the Thai New Year was the beginning of the year in Thailand; thereafter 1 April was used until 1940. 1 January is now the beginning of the year. The traditional Thai New Year has been a national holiday since then.

Songkran is without doubt the most popular of all Thai festivals and rightly so. It marks the beginning of a new astrological year and its exact dates are determined by the old lunar calendar of Siam

Traditionally, April 13 is known as “Maha Songkran Day” and marks the end of the old year, April 14 is “Wan Nao”, while April 15 is “Wan Thaloeng Sok” when the New Year begins.

 

 

จานีน ยโสวันต์

 

ในตอนที่ดิฉันกำลังเขียนบทความนี้ เป็นวันขึ้นปีใหม่ของหลายประเทศในทวีป

เอเชีย เป็นเวลาเฉลิมฉลองปีใหม่พร้อมกับการทำพิธีกรรมทางศาสนาและมี

ความสุขในวันครอบครัวร่วมกัน เทศกาลสงกรานต์ในประเทศไทยจะถูกจัดขึ้น

ในวันที่ 13 – 15 ของทุกปี นี่เป็นเทศกาลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดสำหรับ

ชาวไทยและต่างประเทศ แม้ว่าในบางพื้นที่จะกลายเป็นกิจกรรมที่เสียงดัง หา

ความสนุกเกินควร และหยาบคายมากเกินไป แต่ส่วนมากแล้วนี่เป็นเวลาแห่ง

การชำระล้าง การเริ่มใหม่และการเฉลิมฉลอง

 

หลายๆประเทศที่อยู่ใกล้กับประเทศไทยก็เฉลิมฉลองเทศกาลนี้เช่นกัน

ประเทศลาว กัมพูชา พม่า และชาวไทในยูนนานของประเทศจีน ศรีลังกาก็

ฉลองเทศกาลเหมิอนกันเรียกว่า “Sinhalese” และวันปีใหม่ของชาวเผ่าทมิฬ

ก็ตรงกับเทศกาลนี้เช่นกัน ในประเทศอินเดียวันขึ้นปีใหม่ ชาวอัสสัม

ชาวเบงกอล ชาวโอริสสา ชาวทมิฬ ชาวปัญจาบ ชาวมาลายา เป็นวันเดียวกัน

ในวันนั้นมีการฉลองไปทั่วแคว้นต่างๆ ตามเหตุการณ์ทางโหราศาสตร์ที่พระ

อาทิตย์เดินทางขึ้นสู่ทิศเหนือ

 

การทำนายสำหรับปีใหม่จะมีขึ้นตามวันประจำนางสงกรานต์ ตัวอย่างเช่นถ้า
อาหารที่ชอบของนางสงกรานต์คือถั่วและงา ก็จะทำนายได้ว่าปีนั้นก็จะมีความ
อุดมสมบูรณ์แลสุขภาพดี  ถ้าอาหารที่ชอบเป็นเลือด การทำนายนั้นจะบอกว่า
เป็นปีที่เลวร้ายมีการทะเลาะเบาะแว้งและความยากลำบาก และถ้า“นาง
สงกรานต์”ชอบถืออาวุธก็จะทำนายได้ว่าสภาพอากาศจะมีพายุฝนและความไม่
สะดวกสบายต่างๆ

แต่เดิมแล้ววันจัดงานเทศกาลนั้นจะจัดขึ้นโดยการคำนวณทางโหราศาสตร์ แต่
ตอนนี้ถูกกำหนดไว้แน่นอนแล้ว ถ้าวันเหล่านี้ตรงกับวันหยุดสุดสัปดาห์ วัน
ธรรมดาถัดมาก็จะเป็นวันหยุดชดเชยทันที สงกรานต์อยู่ในช่วงเวลาที่ร้อนที่สุด
แห่งปีในประเทศไทยช่วงปลายหน้าแล้ง จนกระทั่งปีพ.ศ. 2431 วันขึ้นปีใหม่
ไทยเป็นวันแรกของปีในประเทศไทย ต่อมาเปลี่ยนเป็น 1 เมษายนจนกระทั่งปี
พ.ศ. 2483 เมื่อวันที่ 1 มกราคมกลายเป็นวันเริ่มต้นของปี วันปีใหม่แบบดั้งเดิม
จึงกลายเป็นวันหยุดประจำชาติตั้งแต่นั้นมา

ไม่น่าสงสัยเลยว่าสงกรานต์เป็นเทศกาลที่นิยมมากที่สุด นั่นคือการเริ่มต้นแห่ง
ปีใหม่ทางโหราศาสตร์ที่ถูกกำหนดโดยปฎิทินเก่าแก่ของสยาม ตามประเพณี
วันที่ 13 คือวันมหาสงกรานต์ วันที่ 14 คือวันเนา และวันที่ 15 คือวันเถลิงศก
ซึ่งเป็นการเริ่มต้นปีใหม่

 

 


 


 





The Truth About Air Pollution in ChiangMai , PM2.5 

 My cell phone can do nothing ..







 
 
 
























 
 



        City Coffee 48 Teawan Rd. ChiangMai 50300 Thailand










 















 
 










No comments:

Post a Comment

Temp song