Thursday, March 29, 2018

PATANI SEMASA @ Ilham Kuala Lumpur

                                                                 






No. 8 Jalan Binjai, Off Persiaran KLCC
Kuala Lumpur, Malaysia 50450


+60 3-2181 3003






ILHAM is a public art gallery committed to supporting the development, understanding and enjoyment of  Malaysian modern and contemporary art within a regional and global context.

ILHAM aims to appeal to a diverse audience and serve as a resource for those who are engaged in the arts and those for whom art is a new experience.

Through our exhibitions and public programmes, we seek to bring people into closer contact with the art, the artists and their ideas.











EXHIBITIONS / PATANI SEMASA
PATANI SEMASA
An exhibition on contemporary art from the Golden Peninsula
Curated by Gridthiya Gaweewong, Kasamaponn Saengsuratham, Kittima Chareeprasit, and Ekkalak Napthuesuk

25 March - 15 July 2018

ILHAM in collaboration with MAIIAM Contemporary Art Museum is proud to present PATANI SEMASA: an exhibition on contemporary art from the Golden Peninsula. Artworks as well as cultural representations of the 'Patani Region' by 28 artists, both local and those engaged with issues relating to the area, have been selected. This exhibition is a kaleidoscope of different perspectives, methodologies, and responses developed throughout 13 years of experience.

The ‘Patani region’ refers to the geographical area known in modern-day Thailand as the provinces of Pattani, Yala, Narathiwat, and parts of Songkla. The dominant cultural identity of this area is historically informed by Malay ethnicity and Islam. The recurring narrative of Patani—especially in the last 13 years (2004–2017)—resonates with images of conflict. With this in mind, the preliminary question posed by this exhibition is: in what way are the contemporary works of art and cultural representations of Patani presented: formally, narratively, verbally, and structurally?

By way of exploring the various ‘reflections’ of visual artists, photographers, documentary filmmakers, architects, poets, and writers on the events and contemporary way of life of Patani, this exhibition is ultimately a revitalisation and expansion of contemporary art and cultural spaces.
Patani Semasa does not claim to be a total representation of the voices of Patani, but it invites and provokes thought about the region, and the spaces in between the boundaries that define ‘us.’





Artists:
Ampannee Satoh
Amru Thaisnit
Anis Nagasevi
Apichatpong Weerasethakul
I-na Phuyuthanon
Jakkai Siributr
Jamilah Daud
Jamilah Haji
Jehabdulloh Jehsorhoh
Kameelah I-lala
Keeta Isran
Korakot Sangnoy
Mahamasabree Jehloh
Muhammadsuriyee Masu
Mumadsoray Deng
Nuriya Waji
Nurulfirdaos Ding
Pichet Piaklin
Prach Pimarnman
Pratchaya Phinthong
Roslisham Ismail (ISE)
Ruangsak Anuwatwimon
Salwanee Hajisamae
Sirichai Pummak
Suhaidee Sata
Sureena Chema
Vinai Dithajohn

Zakariya Amataya







Art As A Turning Point

Janine Yasovant



Jehabdulloh Jehsorhoh's art is rooted in the South of Thailand, in Pattani province. His art incorporates lines, colors, characteristics and the 'way of living' from native Malayu people at the southern border of Thailand. He received several Excellence Awards in many art contests from 2005 – 2012.  His colorful works have distinguishing features that deeply reflect love and understanding in his hometown. He also did some installation artworks with children and students in the community. He taught them about the meanings and puposes of these works. These are in-depth creations which are frequently found in western arts. Presently, he is running a project to construct an art exhibition hall in Pattani Province.



Prince of Songka is the first university in Southern Thailand, established in 1967. The name of the university was granted by His Majesty the King in honor of His Royal Highness Prince Mahidol Adulyadej, Prince of Songkla, the King's father. The ocean in deep blue color provides a fence for the university. Its John F. Kennedy library is a good place to see the beautiful boats docked at the pier. Life there is very easy. In the sky, large hawks and other birds fly over the glittering sea in the afternoon. It is a wonderful setting.



It can be said Prince of Songka is the one of the famous universities in Southeast Asia and is always ranked in the top 10 universities of Thailand. In July 2009, the university was ranked 175th in the world.



Jaeabdulloh Jaesorhoh is a Thai-Muslim lecturer who teaches art at the department of Visual Arts, Faculty of Fine Arts, Prince of Songkla University. In 2004, he received a scholarship from the General Prem Tinsulanonda Statesman Foundation. In 2004 and 2005, he also received scholarships from the Thai Art Council-USA to represent visual arts. In 2008, he won a gold medal from the Bangkok Bank foundation. In 2011, he won the first prize from Krung Thai Bank at the 57th National Art exhibition and in the same year he earned a field trip to Venice, Italy through a scholarship from the Office of Contemporary Art and Culture, Ministry of Culture Thailand.



Here are some of his views on his art and the culture that surrounds it.

A brief biography.

I was born in Pattani Province in 1983 and spent most of my time studying there until 2005. In 2009 I finished my Masters degree from the faculty of Fine Arts, Sculpting and Print, Silpakorn University in Bangkok. From 2000 – 2012 I received many awards from art contests almost every year. In 2012 I had my first solo art exhibition called "Looks of Malayu people in Pattani" at the Queen Sirikit Art exhibition hall in Bangkok. From 2005 through 2012 I exhibited my academic projects every year.

A passion to teach art in the university and expand that passion in Pattani Province.

My intention is to create quality and standards of art in the south of Thailand, especially in the three provinces next to the border of Thailand. As a university lecturer, I have a great opportunity to deliver my knowledge and experience to students. I want to open public spaces to create an opportunity for young people to show their artistic ability fully. I myself aim to build an art exhibition hall in my hometown, Pattani. The hall will have both permanent sections and temporary art exhibition rooms. What I want to see are artworks that represent the uniqueness of the local area but such artworks must be understood universally by foreign people as well, regardless of their races or beliefs. Artworks in the show can be in any form and styles. I think these art creations may be a turning point of feelings and behaviors for both the creators and viewers.



I hope that in the future we will see meaningful changes in the socio-political environment and the art that it inspires. I still cannot determine the duration of my projects. It might take as much as ten years or more to finish them all. And then there's the question of resources and budget. I use my personal savings as a primary way to fund the project. However, external help from funding sources or organizations is welcome and necessary to make it all happen sooner.

Hopeful changes in the South of Thailand?

There are three main factors that contribute to these changes. First, good artworks must be of high quality and high standards. Second, artists produce that high quality and those high standards. Third, good environments and places for making and exhibiting these high-quality and high-standard artworks are essential. We already have the first and second factors but the third one is in progress because of the large amount of money to be invested in constructing suitable faciliities. What we have to do next is to inform people about our activities so they can come to see the art and perhaps provide financial support.






                                          Jehabdulloh Jehsorhoh
























งานศิลปะของเจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะนั้นมีรากฐานอยู่ที่ทางภาคใต้ของประเทศ
ไทย ในจังหวัดปัตตานี งานของเขาได้รวมเอาเส้น สี ลักษณะและวิถีการใช้ชีวิต
ของชาวมลายูบริเวณชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เขาได้รับรางวัลยอดเยี่ยม
จากการประกวดงานศิลปะหลายครั้งตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2555 งานที่เต็ม
ไปด้วยสีสันมีคุณลักษณะที่เห็นได้ชัดเจนซึ่งสะท้อนความรักและความเข้าใจใน
ภูมิลำเนาอย่างลึกซึ้ง และยังแสดงงานศิลปะร่วมกับเด็กนักเรียนและนักศึกษาที่อยู่
ในชุมชนแถวนั้นโดยสอนให้รู้ถึงเป้าหมายและจุดประสงค์ของงานศิลปะ ซึ่งผลงาน
ที่มีความหมายลึกซึ้งนี้จะพบมากในศิลปะตะวันตก ปัจจุบันนี้คุณเจะอับดุลเลาะ
กำลังดูแลงานก่อสร้างหอแสดงงานศิลปะในจังหวัดปัตตานี


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกทางภาคใต้ของประเทศ
ไทย ก่อตั้งขึ้นในปี 2510 นามของมหาวิทยาลัยได้รับพระราชทานจาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพื่อเฉลิมพระเกียรติแก่พระบิดาของพระองค์ น้ำทะเล
สีบลู เสมือนเป็นรั้วคอยปกป้องมหาวิทยาลัย หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้เป็น
สถานที่ดีสำหรับการชมเรือจอดเทียบฝั่ง ชีวิตที่นั่นดูเรียบง่ายมาก นกเหยี่ยวตัว
ใหญ่และนกพันธ์อื่นๆบินอยู่เหนือน้ำทะเลที่ส่องประกายระยิบระยับในตอนกลางวัน

เป็นภาพที่ดูงดงามจริงๆ สามารถจะกล่าวได้ว่ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็น
หนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และรักษาตำแหน่ง
มหาวิทยาลัยหนึ่งในสิบอันดับแรกของประเทศไทย เมื่อเดือนกรกฎาคมพ.ศ. 2552
อยู่ที่ตำแหน่ง 175 ของโลก


เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะเป็นอาจารย์ชาวไทย มุสลิมที่สอนวิชาศิลปะที่ภาควิชา
ทัศนศิลป์ คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปีพ.ศ. 2548 เขาได้รับ
ทุนจากมูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรมติณสูลานนท์ ในปีพ.ศ. 2548 และ 2549 เขา
ได้รับทุนจากสภาศิลปกรรมไทยในสหรัฐอเมริกาเพื่อแสดงผลงานทัศนศิลป์ ปีพ.ศ.
2551 เขาได้รับรางวัลเหรียญทองจากกองทุนธนาคารกรุงเทพ ปีพ.ศ. 2554 เขา
ได้รับรางวัลที่หนึ่งจากธนาคารกรุงไทยที่งานงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่
57 และภายในปีเดียวกันนั้นเองเขาไปศึกษาดูงานที่เมืองเวนิส ประเทศอิตาลีโดย
ได้รับทุนจากสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม ประเทศไทย


จากนี้ไปเป็นแนวคิดของเขาในเรื่องศิลปะและวัฒนธรรมที่อยู่รอบข้าง

ประวัติส่วนตัว

ผมเกิดที่จังหวัดปัตตานีในปีพ.ศ. 2526 และใช้เวลาส่วนใหญ่ศึกษาเล่าเรียนที่นั่น
จนกระทั่งปีพ.ศ. 2548 ปีพ.ศ. 2552 ผมสำเร็จการศึกษาศิลปศาสตร์มหาบัญฑิต
จากคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 – 2555 ผมได้รับรางวัลจากการประกวด
ศิลปะแทบทุกปี ในปีพ.ศ. 2555 ผมได้จัดงานศิลปะเดี่ยวที่มีชื่อเรียกว่า
นิทรรศการรูปลักษณ์ของชาวมลายูท้องถิ่นปัตตานี ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 – 2555 ผมจัด
แสดงผลงานทางวิชาการด้านศิลปะทุกปี

ความชื่นชอบในการสอนศิลปะในมหาวิทยาลัยและขยายความชื่นชอบนั้นออกมา
ยังจังหวัดปัตตานี

ความตั้งใจของผมคือสร้างคุณภาพและมาตรฐานของงานศิลปะทางภาคใต้ของ
ประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะที่ผมเป็น
อาจารย์มหาวิทยาลัย ผมมีโอกาสอันยิ่งใหญ่ที่ได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์
ให้กับนักศึกษา ผมอยากเปิดพื้นที่สาธารณะเพื่อเปิดโอกาสให้คนรุ่นหนุ่มสาวแสดง
ความสามารถทางศิลปะได้อย่างเต็มที่ ผมตั้งเป้าหมายสร้างหอศิลป์ที่บ้านเกิดของ
ผมในจังหวัดปัตตานี หอศิลป์จะมีทั้งส่วนแสดงงานถาวร และห้องแสดงงานศิลปะ
เป้นครั้งคราว สิ่งที่ผมอยากจะเห็นคืองานศิลปะที่แสดงความเฉพาะตัวในท้องถิ่น
แต่งานศิลปะเช่นนี้สามารถสร้างความเข้าใจใด้ในระดับสากลด้วยเข่นกันโดยไม่
ต้องคำนึงถึงเชื้อชาติหรือความเชื่อ งานศิลปะที่นำมาแสดงจะเป็นรูปแบบอะไรก็ได้
ผมคิดว่างานศิลปะเหล่านี้จะเป็นจุดเปลี่ยนผันของความรู้สึกและพฤติกรรมสำหรับผู้
สร้างสรรค์และผู้รับชม


ผมหวังว่าในอนาคตเราจะเห็นความเปลี่ยนแปลงที่มีความหมายในสภาพแวดล้อม
ทางสังคมการเมืองและงานศิลปะที่ได้รับแรงบันดาลใจจากสิ่งเหล่านี้ ผมยั้งไม่
สามารถที่จะกำหนดเวลางานของผมได้ อาจใช้เวลามากถึงสิบปีหรือนานกว่านั้นที่
จะทำทุกอย่างให้เสร็จ อีกทั้งยังมีปัญหาเรื่องของทรัพยากรและงบประมาณ ผมใช้
เงินออมส่วนตัวเป็นทางหลักในการให้ทุนกับโครงการ อย่างไรก็ตามความ
ช่วยเหลือจากแหล่งเงินทุนจากภายนอกและองค์กรต่างๆ นั้นเป็นเรื่องที่น่ายินดี
และจำเป็นต่องานทำให้งานสำเร็จเร็วขึ้นกว่าเดิม

เรื่องของความเปลี่ยนแปลงทางภาคใต้ของประเทศไทย

มีองค์ประกอบหลักสามประการที่มีส่วนให้เกิดความเปลี่ยนแปลง อย่างแรกคืองาน
ศิลปะที่ดีจะต้องมีคุณถาพและมาตรฐานสูง อย่างที่สองคือมีศิลปินผู้สร้างผลงานที่
มีคุณภาพและมาตรฐานสูง อย่างที่สามคือสถานที่จัดทำและแสดงผลงานอยู่ใน
สภาพแวดล้อมที่ดีนั้นจำเป็นมาก ตอนนี้เรามีองค์ประกอบที่หนึ่งและที่สองแล้ว แต่
อันที่สามยังอยู่ในระหว่างการดำเนินการเพราะเรื่องเงินจำนวนมากที่จะต้องนำมา
ลงทุนก่อสร้างอาคารที่เหมาะสม สิ่งที่เราจะต้องทำต่อไปคือแจ้งให้บุคคลทั่วไป
ทราบเกี่ยวกับงานกิจกรรมต่างๆ เพื่อที่ผู้คนทั้งหลายเหล่านั้นมาเยี่ยมชมงานศิลปะ
และบางทีมอบเงินสนับสนุนให้









































































No comments:

Post a Comment

Temp song